หน้าเว็บ
หน้าแรก
บทความ
กิจกรรม
วีดีโอ
ความทรงจำ
ผู้จัดทำ
วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
ผู้จัดทำ
จัดทำโดย
นางสาวจุฑามาศ นวลรอด เลขที่ 7
ปวช.2/1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
facebook
:
https://www.facebook.com/jutamart.nuanrod
ขอบคุณที่เป็นเพื่อนกัน คบกันได้อย่างเชื่อใจ
โครงการ กิจกรรมหรรษาสร้างความสัมพันธ์
ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี
แข่งขันขับขี่ปลอดภัยบริษัทฮอนด้า
ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2
โครงการ ของขวัญแทนใจ ต้อนรับปีใหม่
ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี
ทัศนศึกษาระดบชั้น ปวช.2 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ณ จังหวัดกระบี่
เข้าค่ายพุทธบุตร
ณ วัดใหม่พัฒนาราม (หลวงพ่อพัฒน์)
ภูมิใจที่สุด
แข่งขันดนตรีไทยชิงถ้วยพระราชทานระดับภาคใต้
ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2
E-BOOK
Power Point
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
Adobe flash player
ตั้งรหัสคอมพิวเตอร์
สอนแต่ง
photoshop
หน่วยความจำสำรอง
หน่วย
ความ
จำ
รอง
ส่วน
ความ
จำ
รอง (secondary memory) ใช้
เป็น
ส่วน
เพิ่ม
ความ
จำ
ให้
มี
ขนาด
ใหญ่
มาก
ขึ้น ทำ
งาน
ติด
ต่อ
ยู่กับส่วน
ความ
จำ
หลัก ส่วน
ความ
จำ
รอง
มี
ความ
จุ
มาก
และ
มี
ราคา
ถูก แต่
เรียก
หา
ข้อ
มูล
ได้
ช้า
กว่า
ส่วน
ความ
จำ
หลัก คือ ทำ
งาน
ได้
ใน
เวลา
เศษ
หนึ่ง
ส่วน
พัน
วินาที
ข่าว
สาร
หรือ
ข้อ
มูล
ที่
จะ
เก็บ
ไว้
ใน
ส่วน
ความ
จำ
นั้น
เป็น
รหัส
แทน
เลข
ฐาน
สอง (binary) คือ ๐ กับ ๑ ซึ่ง
ต้อง
เก็บ
ไว้
เป็น
กลุ่ม ๆ และ
มี
แอดเดรส
ตาม
ที่
กำหนด เพื่อ
ความ
สะ
ดอก
ขอ
นิยาม
ไว้
ดัง
นี้
บิต (bit)
เป็น
ชื่อ
ที่
เขียน
ย่อ
จาก binary digit ซึ่ง
หมาย
ถึง
ตัว
เลข
ฐาน
สอง
คือ ๐ กับ ๑ ซึ่ง
เป็น
ส่วน
ประกอบ
ที่
เล็ก
ที่
สุด
ของ
หน่วย
ความ
จำ
ไบต์ (byte)
เป็น
ชื่อ
ที่
ใช้
เรียก
กลุ่ม
ของ
บิ
ต ซึ่ง
ขึ้น
อยู่กับการ
เลือก
ใช้ เช่น ๖ บิต ๘ บิต……
.ก็
ได้ ซึ่ง
เรียก
ว่า ๖ บิตไบต
์ ๘ บิตไบต์ ๑๖ บิตไบต์……
..ตาม
ลำ
ดับ เป็น
ต้น
ตัว
อักษร (character)
หมาย
ถึง
สัญลักษณ์
ที่
ใช้
ใน
คอมพิวเตอร์ คือ
ตัว
เลข 0-9 ตัว
อักษร A-Z และเครื่องหมาย
พิเศษ
บาง
อย่าง
ที่
จำ
เป็น เช่น ( ), < , +, = ,………. ฯลฯ เป็น
ต้น ซึ่ง
เรา
จะ
ต้อง
แทน
ตัว
อักษร
หนึ่ง ๆ ด้วย
รหัส
ของ
กลุ่ม
เลข
ฐาน
สอง 1 ไบต์ (ซึ่ง
อาจ
เป็น 7 หรือ 8 บิตไบต์)
คำ (word)
หมาย
ถึง
กลุ่ม
ของ
เลข
ฐาน
สอง
ตั้ง
แต่ 1 ไบต์ขึ้น
ไป ที่
สามารถ
เก็บ
ไว้
ใน
ส่วน
ความ
จำ
เพียง 1 แอดเดรส ขนาด
ของ
คำ
ขึ้น
อยู่กับการ
เลือก
ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ บางเครื่องใช้
คำ
หนึ่ง
ประกอบ
ขึ้น
จาก 2 ไบต์ แต่
ละไบต์เป็น
ชนิด 8 บิต ดัง
นั้น
คำ
หนึ่ง
จึง
มี 16 บิต บางเครื่องใช้
คำ
หนึ่ง
ประกอบ
ขึ้น
จาก 4 ไบต์ แต่
ละไบต์เป็น
ชนิด 8 บิ
ต ดัง
นั้น
คำ
หนึ่ง
จึง
มี 32 บิต เครื่องคอมพิวเตอร์
บางเครื่องใช้
คำ
หนึ่ง
ประกอบ
ขึ้น
จาก 48 หรือ 64 บิตก็
มี
ขนาด
ของ
ส่วน
ความ
จำ
บอก
เป็น
จำนวน K คำ ซึ่ง K ย่อ
มา
จาก
คำ
ว่า kilo อัน
หมาย
ถึง 1,000 แต่
ค่า
ที่
แท้
จริง
คือ 2 10 = 1,024 หน่วย
ของ
ส่วน
ความ
จำหน่าวยหนึ่ง
อาจ
จะ
มี
จำนวน
ต่ำ
สุด 4K จึง
ถึง
ใหญ่
สุด 128K (ชนิด
ของ
แกน
แม่
เหล็ก) หรือ
ใหญ่
สุด 4,000K (ชนิด
ของ
วง
จร
เบ็ดเสร็จ
ชนิด
ใหญ่)
ใน
ยุค
สังคม
สาร
สนเทศ
ทุก
วัน
นี้ ข้อ
มูล
และ
โปรแกรม
คอมพิวเตอร์
จะ
มี
จำนวน
หรือ
ขนาด
ใหญ่
มาก ตาม
ความ เจริญ
ก้าว
หน้า
ของ
เทคโนโลยี
และ
ความ
ซับ
ซ้อน
ของ
ปัญหา
ที่
พบ
ใน
งาน
ต่าง
ๆ หน่วย
ความ
จำ
หลัก
ที่
ใช้
เก็บ
ข้อ มูล
ใน
คอมพิวเตอร์
จึง
ต้อง
มี
ขนาด
ใหญ่
ตาม
ไป
ด้วย โดย
ทั่ว
ไป
หน่วย
ความ
จำ
หลัก
จะ
มี
ขนาด
จำกัด ทำ
ให้
ไม่
พอ
เพียง
สำหรับ
การ
เก็บ
ข้อ
มูล
จำนวน
มาก ใน
ระบบ
คอมพิวเตอร์
จึง
มัก
ติด
ตั้ง
หน่วย
ความ
จำ
รอง เพื่อ
นำ
มา
ใช้ เก็บ
ข้อ
มูล
จำนวน
มาก เป็น
การ
เพิ่ม
ขีด
ความ
สามารถ
ด้าน
จด
จำ
ของ
คอมพิวเตอร์
ให้
มาก
ยิ่ง
ขึ้น นอก
จาก
นี้
ถ้า มี
การ
ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ใน
ขณะ
ทำ
งาน
ข้อ
มูล
และ
โปรแกรม
ที่
เก็บ
ไว้
ใน
หน่วย
ความ
จำ
หลัก
หรือ
แรม
จะ
สูญ
หาย
ไป
หมด หาก
มี
ข้อ
มูล
ส่วน
ใด
ที่
ต้อง
การ
เก็บ
ไว้
ใช้
งาน
ใน
ภาย
หลัง
ก็
สามารถ
เก็บ
ไว้
ใน
หน่วย
ความ
จำ
รอง หน่วย
ความ
จำ
รอง
ที่ นิยม
ใช้
กัน
มาก
จะ
เป็น
จาน
แม่
เหล็ก
ซึ่ง
จะ
มี
ทั้ง
แผ่น
บัน
ทึก
และ
ฮาร์ดดิสก์
หน่วยความจำหลัก
หน่วย
ความ
จำ
หลัก
เครื่องคอมพิวเตอร์
ทุกเครื่องต้อง
อาศัย
หน่วย
ความ
จำ
หลัก
เพื่อ
ใช้
เก็บ
ข้อ
มูล
และ
คำ
สั่ง
ซี
พียูมี
การ
ทำ
งาน
เป็น
วง
รอบ
โดย
การ
คำ
สั่ง
จาก
หน่วย
ความ
จำ
หลัก
มา
แปล
ความ
หมาย
แล้ว
กระ
ทำ
ตาม เมื่อ
ทำ
เสร็จ
ก็
จะ
นำ
ผล
ลัพธ์
มา
เก็บ
ใน
หน่วย
คำ
จำ
หลัก ซี
พียูจะ
กระ
ทำ
ตาม
ขั้น
ตอน
เช่น
นี้
เรื่อย ๆ ไป
อย่าง
รวด
เร็ว เรียก
การ
ทำ
งาน
ลักษณะ
นี้
ว่า วง
รอบ
ของ
คำ
สั่ง
จาก
การ
ทำ
งาน
เป็น
วง
รอบ
ของ
ซี
พียูนี้
เอง การ
อ่าง
เขียน
ข้อ
มูล
ลง
ใน
หน่วย
ความ
จำ
หลัก
จะ
ต้อง
ทำ
ได้
รวด
เร็ว เพื่อ
ให้
ทัน
การ
ทำ
งาน
ของ
ซี
พีย
ู โดย
ปกติ
ถ้า
ให้
ซี
พียูทำ
งาน
ความ
ถี่
ของ
สัญญาณ
นาฬิกา 33 เมกะเฮิรตซ์ หน่วย
ความ
จำ
หลัก
ที่
ใช้
ทั่ว
ไป
มัก
จะ
มี
ความ
เร็ว
ไม่
ทัน ดัง
นั้น
กล
ไก
ของ
ซี
พียูจึง
ต้อง
ชะลอ
ความ
เร็ว
ลง
ด้วย
การ
สร้าง
ภาวะ
รอ (wait state) การ
เลือก
ซื้อ
ไมโคร
คอมพิวเตอร์
จึง
ต้อง
พิจารณา
ดู
ว่า
มี
ภาวะ
รอ
ใน
การ
ทำ
งาน
ด้วย
หรือ
ไม่
หน่วย
ความ
จำ
หลัก
ที่
ใช้กับไมโคร
คอมพิวเตอร์
จึง
ต้อง
กำหนด
คุณ
ลักษณะ ใน
เรื่อง
ช่วง
เวลา
เข้า
ถึง
ข้อ
มูล (access time) ค่า
ที่
ใช้
ทั่ว
ไป
อยู่
ใน
ช่วง
ประมาณ 60 นา
โน
วินาที ถึง 125 นา
โน
วินาที ( 1 นา
โน
วินาที
เท่ากับ 10-9 วินาที) แต่
อย่าง
ไร
ก็
ตาม มี
การ
พัฒนา
ให้
หน่วย
ความ
จำ
สามารถ
ใช้กับซี
พียูที่
ทำ
งาน
เร็ว
ขนาด 33 เมกะเฮิรตซ์ ได้ โดย
การ
สร้าง
หน่วย
ความ
จำ
พิเศษ
มา
คั่น
กลาง
ไว้ ซึ่ง
เรียก
ว่า หน่วย
ความ
จำ
แค
ช (cache memory) ซึ่ง
เป็น
หน่วย
ความ
จำ
ที่
เพิ่ม
เข้า
มา
เพื่อ
นำ
ชุด
คำ
สั่ง หรือ
ข้อ
มูล
จาก
หน่วย
ความ
จำ
หลัก
มา
เก็บ
ไว้
ก่อน เพื่อ
ให้
ซี
พียูเรียก
ใช้
ได้
เร็ว
ขึ้น
การ
แบ่ง
ประเภท
หน่วย
ความ
จำ
หลัก ถ้า
แบ่ง
ตาม
ลักษณะ
การ
เก็บ
ข้อ
มูล กล่าว
คือ
ถ้า
เป็น
หน่วย
ความ
จำ
ที่
เก็บ
ข้อ
มูล
ไว้
แล้ว หาก
ไฟ
ฟ้า
ดับ คือ
ไม่
มี
ไฟ
ฟ้า
จ่าย
ให้กับวง
จร
หน่วย
ความ
จำ ข้อ
มูล
ที่
เก็บ
ไว้
จะ
หาย
ไป
หมด เรียก
หน่วย
ความ
จำ
ประเภท
นี้
ว่า หน่วย
ความ
จำ
แบบ
ลบ
เลือน
ได้ (volatile memory) แต่
ถ้า
หน่วย
ความ
จำ
เก็บ
ข้อ
มูล
ได้
โดย
ไม่
ขึ้นกับไฟ
ฟ้า
ที่
เลี้ยง
วง
จร ก็
เรียก
ว่า หน่วย
ความ
จำ
ไม่
ลบ
เลือน (nonvolatile memory)
แต่
โดย
ทั่ว
ไป
การ
แบ่ง
ประเภท
ของ
หน่วย
ความ
จำ
จะ
แบ่ง
ตาม
สภาพ
การ
ใช้
งาน เช่น ถ้า
เป็น
หน่วย
ความ
จำ
ที่
เขียน
หรือ
อ่าน
ข้อ
มูล
ได้ การ
เขียน
หรือ
อ่าน
จะ
เลือก
ที่
ตำแหน่ง
ใด
ก็
ได้ เรา
เรียก
หน่วย
ความ
จำ
ประเภท
นี้
ว่า
แรม (Random Access Memory: RAM)
แรม
เป็น
หน่วย
ความ
จำ
แบบ
ลบ
เลือน
ได้ และ
หาก
เป็น
หน่วย
ความ
จำ
ที่
ซี
พียูอ่าน
ได้
อย่าง
เดียว ไม่
สามารถ
เขียน
ลง
ไป
ได้ ก็
เรียก
ว่า
รอม (Read Only Memory : ROM)
รอม
จึง
เป็น
หน่วย
ความ
จำ
ที่
เก็บ
ข้อ
มูล
หรือ
โปรแกรม
ไว้
ถาวร เช่น
เก็บ
โปรแกรม
ควบ
คุม
การ
จัด
การ
พื้น
ฐาน
ของ
ระบบ
ไมโคร
คอมพิวเตอร์ (bios) รอม
ส่วน
ใหญ่
เป็น
หน่วย
ความ
จำ
ไม่
ลบ
เลือน
แต่
อาจ
ยอม
ให้
ผู้
พัฒนา
ระบบ
ลบ
ข้อ
มูล
และ
เขียน
ข้อ
มูล
ลง
ไป
ใหม่
ได้ การ
ลบ
ข้อ
มูล
นี้
ต้อง
ทำ
ด้วย
กรรม
วิธี
พิเศษ เช่น ใช้
แสง
อุลตรา
ไวโลเล็ตฉาย
ลง
บน
ผิว
ซิ
ลิ
กอ
น หน่วย
ความ
จำ
ประเภท
นี้
มัก
จะ
มี
ช่อง
กระจก
ใส
สำหรับ
ฉาย
แสง
ขณะ
ลบ และ
ขณะ
ใช้
งาน
จะ
มี
แผ่น
กระดาษ
ทึบ
ปิด
ทับ
ไว้ เรียก
หน่วย
ความ
จำ
ประเภท
นี้
ว่า อีพร็อม (Erasable Programmable Read Only Memory : EPROM)
ส่วนรับข้อมูล
ส่วนรับข้อมูล (Input)
เป็น
อุปกรณ์
รับ
เข้า ทำ
หน้า
ที่
รับ
โปรแกรม
และ
ข้อ
มูล
เข้า
สู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์
รับ
เข้า
ที่
ใช้
กัน
เป็น
ส่วน
ใหญ่
คือ แผง
แป้น
อักขระ (keyboard) และ
เมาส์ (mouse)
บทความที่ใหม่กว่า
บทความที่เก่ากว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)